Author Archives: Halal-PSU

ผลของการเสริมใยอาหารและสตาร์ชที่ทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ต่อคุณลักษณะ และคุณค่าทางโภชนาการของโรตีกรอบ

หัวข้อวิจัย ผลของการเสริมใยอาหารและสตาร์ชที่ทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ต่อคุณลักษณะและคุณค่าทางโภชนาการของโรตีกรอบ คณะนักวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปิยรัตน์  ศิริวงศ์ไพศาล        นางปาริดา  จันทร์สว่าง หน่วยงานที่รับผิดชอบ คณะอุตสาหกรรมเกษตร  ปีที่ได้รับงบประมาณ 2559   ผลของการเสริมใยอาหารและสตาร์ชที่ทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ต่อคุณลักษณะ และคุณค่าทางโภชนาการของโรตีกรอบ   คณะผู้วิจัย ผศ.ดร. ปิยรัตน์  ศิริวงศ์ไพศาล1         นางปาริดา  จันทร์สว่าง1   บทคัดย่อ ไหมข้าวโพดแห้งมีปริมาณโปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต เยื่อใย เถ้า และความชื้นร้อยละ 16.18 1.23 50.58 15.63 4.22 และ 11.72 (โดยน้ำหนักแห้ง) ตามลำดับ และมีปริมาณใยอาหารสูงถึงร้อยละ 57.57  โดยเป็นใยอาหารที่ไม่ละลายน้ำร้อยละ 57.34 และใยอาหารที่ละลายน้ำร้อยละ 0.23 (โดยน้ำหนักแห้ง) จากการศึกษาผลของการเติมไหมข้าวโพดทดแทนแป้งสาลีต่อสมบัติของโดและผลิตภัณฑ์โรตีกรอบ พบว่าโดโรตีมีค่าความต้านทานแรงดึง ค่าและค่า G0 เพิ่มขึ้น ขณะที่ความสามารถในการยืดขยายตัวและค่าความเหนียวของโดโรตีมีค่าลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) เมื่อระดับการทดแทนของไหมข้าวโพดเพิ่มขึ้ […]

การสำรวจพฤติกรรมและการเข้าถึงอาหารฮาลาลของนักท่องเที่ยวมาเลเซีย

หัวข้อวิจัย การสำรวจพฤติกรรมและการเข้าถึงอาหารฮาลาลของนักท่องเที่ยวมาเลเซียมุสลิมในภาคใต้ของประเทศไทย ผู้วิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค หน่วยงานที่รับผิดชอบ สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง ปีที่ได้รับงบประมาณ 2553   การสำรวจพฤติกรรมและการเข้าถึงอาหารฮาลาลของนักท่องเที่ยวมาเลเซียมุสลิมในภาคใต้ของประเทศไทย   ผู้วิจัย รศ.ดร. ศรัณยา บุนนาค1   บทคัดย่อ การศึกษาพฤติกรรมและการเข้าถึงอาหารฮาลาลของนักท่องเที่ยวมาเลเซียมุสลิม ในภาคใต้ของประเทศไทยเป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ(Survey Research) โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง(Purposive Sampling Technique) ได้จำนวนตัวอย่างนักท่องเที่ยวมาเลเซียมุสลิม 400 ราย และผู้ประกอบการร้านอาหาร 40 ราย มาทำการสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถาม (Questionnaire) ในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ.2555- เมษายน พ.ศ.2556 ผลการวิจัยพบว่าร้อยละ 52.8 ของนักท่องเที่ยวมาเลเซียมุสลิมเป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 33.07 ปี ร้อยละ 54.3 ของนักท่องเที่ยวมาเลเซียมุสลิมได้รับการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพหลักในการรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ธุรกิจส่วนตัวมากที่สุด มีรายได้ครัวเรือนเฉลี่ยเดือนละ 11,667.55 เห […]

แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการฮาลาลโลจิสติกส์ของผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล กรณีศึกษาประเทศมาเลเซีย

หัวข้อวิจัย โครงการ“แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการฮาลาลโลจิสติกส์ของผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล กรณีศึกษา ประเทศมาเลเซีย” คณะนักวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.เสกสรร  สุธรมานนท์ รองศาสตราจารย์ ดร.นิกร  ศิริวงศ์ไพศาล อาจารย์พัลลภัช  เพ็ญจำรัส Dato’ Ir Dr.Nordin B  Yunus นายปิยะพงศ์  เสนีย์รัตนประยูร หน่วยงานที่รับผิดชอบ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ปีที่ได้รับงบประมาณ 2553 โครงการ “แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการฮาลาลโลจิสติกส์ของผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล กรณีศึกษา ประเทศมาเลเซีย” คณะผู้วิจัย รศ.ดร.เสกสรร  สุธรมานนท์1 รศ.ดร.นิกร  ศิริวงศ์ไพศาล1 อาจารย์พัลลภัช  เพ็ญจำรัส1 Dato’ Ir Dr.Nordin B  Yunus1 นายปิยะพงศ์  เสนีย์รัตนประยูร1 บทคัดย่อ จากการขยายตัวของอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลที่ผ่านมา ทำให้มูลค่าตลาดอาหารฮาลาลสูงกว่า 150,000 ล้านเหรียญสหรัฐต่อปี ซึ่งนับเป็นจำนวนเงินมหาศาล ซึ่งประเทศไทยมีความพร้อมทั้งด้านแหล่งวัตถุดิบอาหารฮาลาลที่ใหญ่กว่าประเทศอื่นๆ และมีศูนย์วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาลตรวจรับรอง แต่พบว่าอาหารฮาลาลของไทยยังไม่เป็นที่นิยมในต่างประเทศเท่าที่ควร ซึ่งจากการเก็บข้อมูลและประชุมกับตัวแทนผู้ประกอบการได้ข้อสรุปว่า […]

การตรวจสอบเชื้อ Salmonella spp. ด้วยเทคนิค Real-time PCR เปรียบเทียบกับ วิธีเพาะเลี้ยงเชื้อ

หัวข้อวิจัย การตรวจสอบเชื้อ Salmonella spp. ด้วยเทคนิค Real-time PCR เปรียบเทียบกับวิธีเพาะเลี้ยงเชื้อ คณะนักวิจัย นางพจชนาถ พัทบุรี                    นางอภิญญา ศุกลรัตน์ นายอุทัย ไทยเจริญ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ปีที่ได้รับงบประมาณ 2553 การจัดตั้งห้องปฏิบัติการตรวจสอบเชื้อทางเดินอาหารเป็นพิษ เพื่อตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล : การตรวจสอบเชื้อ Salmonella spp. ด้วยเทคนิค Real-time PCR เปรียบเทียบกับวิธีทางอิมมูโนวิทยาในผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล คณะนักวิจัย  นางพจชนาถ พัทบุรี1   นางอภิญญา ศุกลรัตน์1                                                                                              นายอุทัย ไทยเจริญ1   บทคัดย่อ การตรวจหา DNA เชื้อ Salmonella spp. ที่ปนเปื้อนในอาหารฮาลาล โดยใช้เทคนิค Real-time PCR เปรียบเทียบกับวิธีเปรียบเทียบกับวิธีทางอิมมูโนที่ใช้ชุดทดสอบ Singlepath® Salmonella (AOAC 060401) โดยเทคนิค Real-time PCR เป็นเทคนิคที่มีความจำเพาะเจาะจง เมื่อตรวจสอบเชื้อ Salmonella spp. พบว่าให้ผลบวกเฉพาะเชื้อ Salmonella spp. แต่ให้ผลลบในตัวอย่างที่ได้จากเชื้อช […]